บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
สรุปประเมินผลความพึงพอใจระบบบริหารงานวิจัย
วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ประเมินระบบบริหารงานวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ผู้ประเมินเป็นอาจารย์และข้าราชการตำรวจระดับสัญญบัตร จำนวน ๔๒ คน แบ่งเป็นเพศชาย จำนวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๐๐ เพศหญิงจำนวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๐๐ ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน ๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๔๐ รองลงมาวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๐ ประเภทตำแหน่ง ส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ จำนวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๒๐ รองลงมาเป็นทนท.หน.ภาควิชา จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๐ ฝ่ายอำนวยการ จำนวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๓๐
ประสบการณ์ด้านการทำวิจัย ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำวิจัย ๑-๕ ปี จำนวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๒๐ รองลงมาไม่เคยมีประสบการณ์ทำวิจัย จำนวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๐ จำนวนผลผลิตงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ ส่วนใหญ่มีน้อยกว่า ๑ เรื่อง/ปี จำนวน ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๓๐ รองลงมาไม่เคยมีผลผลิตงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๘๐ สำหรับประสบการณ์การทำงานในวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ส่วนใหญ่ทำงานน้อยกว่า ๕ ปี จำนวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖๐ รองลงมาทำงานในวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ๕-๙ ปี จำนวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๒๐
การบริหารจัดการระบบบริหารงานวิจัย วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ดำเนินการตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษาโดยแบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ดังนี้
๑.ด้านการพัฒนาศักยภาพการวิจัย
๒.ด้านการสนับสนุนงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์
๓.ด้านการบริหารงานวิจัย
๔.ด้านการสร้างสรรค์งานวิจัย
ความพึงพอใจด้านการพัฒนาศักยภาพการวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่พึงพอใจการจัดการอบรมให้ความรู้ด้านการวิจัย อย่างต่อเนื่องตรงกับความต้องการของอาจารย์และบุคลากร วพ โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๓.๙๐ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๗๕ รองลงมาพึงพอใจการสนับสนุนให้เข้าร่วมประชุม หรือ อบรมเกี่ยวกับการวิจัยภายนอกหน่วยงาน โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๓.๘๘ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๔
พึงพอใจด้านการสนับสนุนงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ พบว่า ส่วนใหญ่พึงพอใจการเวียนแจ้งให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับแหล่งทุนอุดหนุนการวิจัยภายในหน่วยงานเป็นประจำทุกปี ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๔.๑๗ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๖๖ รองลงมาพึงพอใจการเวียนแจ้งให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับแหล่งทุนวิจัยภายนอกหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง เช่น เวียนแจ้ง เวปไซท์ วพ. ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๔.๐๐ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๑
ความพึงพอใจด้านการบริหารงานวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมีระบบและแนวทางการดำเนินงานวิจัยชัดเจน ค่าเฉลี่ย ๔.๐๕ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๗๓ รองลงมาพึงพอใจมีการปรับปรุงคู่มือการบริหารงานวิจัย อย่างต่อเนื่องตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษา มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ๔.๐๒ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๘๑
ความพึงพอใจด้านการสร้างสรรค์งานวิจัย จำนวนงานวิจัยของวิทยาลัยพยาบาลตำรวจมีมาตรฐานและเพียงพอตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๓.๕๔ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๘๘ สำหรับเหตุผลในการทำงานวิจัย ส่วนใหญ่ตอบเป็นเกณฑ์บังคับของประกันคุณภาพการศึกษา ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๒๓ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๑.๐๐ รองลงมาเพื่อใช้ประกอบการเลื่อนไหลทางวิชาการ และเพื่อปรับปรุง และพัฒนางาน ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๒๑ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๖๔ เหตุผลในการไม่ทำวิจัย พบว่าส่วนใหญ่ตอบมีภาระงานมาก จนทำให้ไม่มีเวลา ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๔๐ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๗๐ รองลงมาตอบไม่มีแรงจูงใจในการทำวิจัย ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๓.๗๑ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๑.๐๔
ความต้องการอบรมด้านการวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ เรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดมีดังนี้
- การพัฒนานวัตกรรม/สื่อการสอน
- การอบรมเชิงปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน
- อบรมเชิงปฏิบัติการิจัยทางคลินิก (ด้านการพยาบาล)
- การเลือกใช้สถิติขั้นสูงในงานวิจัย
- การจัดการความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย
- อบรมการออกแบบงานวิจัย
- วิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
- ระเบียบวิธีการดำเนินงานวิจัย
ความต้องการช่วงเวลาในการจัดอบรมพบว่า ส่วนใหญ่มีความต้องการให้จัดการอบรมในช่วงปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๗๐ รองลงมาต้องการให้จัดการอบรมในช่วงระหว่างพัก Ward แต่ละภาคการศึกษาคิดเป็นร้อยละ ๒๓.๘๐
ความต้องการระยะเวลาในการจัดอบรมพบว่า ส่วนใหญ่ต้องการให้มีการจัดอบรมครั้งละ ๒ วัน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๑๐ รองลงมาต้องการให้มีการจัดอบรมครั้งละ ๓ วัน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๐๐ ข้อเสนอแนะ
- การจัดอบรมเป็นสิ่งที่ดี เพิ่อมพูนความรู้ด้านงานวิจัยควรทำต่อไป
- ขอบังคับการเบิกจ่ายวิจัย มีความยุ่งยากในการเบิกจ่ายเงิน อยากให้ปรับหรือศึกษาวิธีการให้ง่ายต่อผู้ปฏิบัติ
- อยากให้อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเรียนการสอน การสอบผ่านระบบ online
- ควรมี refreshing course ความรู้ด้านการวิจัย ๒-๓ ปี ต่อครั้ง การใช้นวัตกรรมและIT กับการวิจัย
- หากเป็นไปได้ควรร่วมกับสถาบันการศึกษาอื่นไม่น้อยกว่า ๑๐ สถาบัน จัดการประชุมวิชาการ เพื่อจะได้เป็นคะแนนของการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ นำไปสู่การสร้างเครือข่ายทางวิชาการและเป็นมาตราฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและวิชาการ
- เพิ่มทุนอุดหนุนการทำวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ส่งเสริมเวลาในการทำวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
สรุปประเมินผลความพึงพอใจระบบบริหารงานวิจัย
วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙
ประเมินระบบบริหารงานวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ผู้ประเมินเป็นอาจารย์และข้าราชการตำรวจระดับสัญญบัตร จำนวน ๔๒ คน แบ่งเป็นเพศชาย จำนวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๐๐ เพศหญิงจำนวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๐๐ ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน ๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๔๐ รองลงมาวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๐ ประเภทตำแหน่ง ส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ จำนวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๒๐ รองลงมาเป็นทนท.หน.ภาควิชา จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๗๐ ฝ่ายอำนวยการ จำนวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๓๐
ประสบการณ์ด้านการทำวิจัย ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำวิจัย ๑-๕ ปี จำนวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๒๐ รองลงมาไม่เคยมีประสบการณ์ทำวิจัย จำนวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๐ จำนวนผลผลิตงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ ส่วนใหญ่มีน้อยกว่า ๑ เรื่อง/ปี จำนวน ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๓๐ รองลงมาไม่เคยมีผลผลิตงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๘๐ สำหรับประสบการณ์การทำงานในวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ส่วนใหญ่ทำงานน้อยกว่า ๕ ปี จำนวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๖๐ รองลงมาทำงานในวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ๕-๙ ปี จำนวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๒๐
การบริหารจัดการระบบบริหารงานวิจัย วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ดำเนินการตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษาโดยแบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ดังนี้
- ด้านการพัฒนาศักยภาพการวิจัย
- ด้านการสนับสนุนงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์
- ด้านการบริหารงานวิจัย
- ด้านการสร้างสรรค์งานวิจัย
ความพึงพอใจด้านการพัฒนาศักยภาพการวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่พึงพอใจการจัดการอบรมให้ความรู้ด้านการวิจัย อย่างต่อเนื่องตรงกับความต้องการของอาจารย์และบุคลากร วพ โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๓.๙๐ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๗๕ รองลงมาพึงพอใจการสนับสนุนให้เข้าร่วมประชุม หรือ อบรมเกี่ยวกับการวิจัยภายนอกหน่วยงาน โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๓.๘๘ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๔
พึงพอใจด้านการสนับสนุนงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ พบว่า ส่วนใหญ่พึงพอใจการเวียนแจ้งให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับแหล่งทุนอุดหนุนการวิจัยภายในหน่วยงานเป็นประจำทุกปี ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๔.๑๗ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๖๖ รองลงมาพึงพอใจการเวียนแจ้งให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับแหล่งทุนวิจัยภายนอกหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง เช่น เวียนแจ้ง เวปไซท์ วพ. ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๔.๐๐ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๑
ความพึงพอใจด้านการบริหารงานวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมีระบบและแนวทางการดำเนินงานวิจัยชัดเจน ค่าเฉลี่ย ๔.๐๕ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๗๓ รองลงมาพึงพอใจมีการปรับปรุงคู่มือการบริหารงานวิจัย อย่างต่อเนื่องตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษา มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ๔.๐๒ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๘๑
ความพึงพอใจด้านการสร้างสรรค์งานวิจัย จำนวนงานวิจัยของวิทยาลัยพยาบาลตำรวจมีมาตรฐานและเพียงพอตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๓.๕๔ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๘๘ สำหรับเหตุผลในการทำงานวิจัย ส่วนใหญ่ตอบเป็นเกณฑ์บังคับของประกันคุณภาพการศึกษา ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๒๓ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๑.๐๐ รองลงมาเพื่อใช้ประกอบการเลื่อนไหลทางวิชาการ และเพื่อปรับปรุง และพัฒนางาน ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๒๑ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๖๔ เหตุผลในการไม่ทำวิจัย พบว่าส่วนใหญ่ตอบมีภาระงานมาก จนทำให้ไม่มีเวลา ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๔๐ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๗๐ รองลงมาตอบไม่มีแรงจูงใจในการทำวิจัย ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๓.๗๑ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๑.๐๔
ความต้องการอบรมด้านการวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดมีดังนี้
- การพัฒนานวัตกรรม/สื่อการสอน
- การอบรมเชิงปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน
- อบรมเชิงปฏิบัติการิจัยทางคลินิก (ด้านการพยาบาล)
- การเลือกใช้สถิติขั้นสูงในงานวิจัย
- การจัดการความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย
- อบรมการออกแบบงานวิจัย
- วิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
- ระเบียบวิธีการดำเนินงานวิจัย
ความต้องการช่วงเวลาในการจัดอบรมพบว่า ส่วนใหญ่มีความต้องการให้จัดการอบรมในช่วงปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๗๐ รองลงมาต้องการให้จัดการอบรมในช่วงระหว่างพัก Ward แต่ละภาคการศึกษาคิดเป็นร้อยละ ๒๓.๘๐
ความต้องการระยะเวลาในการจัดอบรมพบว่า ส่วนใหญ่ต้องการให้มีการจัดอบรมครั้งละ ๒ วัน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๑๐ รองลงมาต้องการให้มีการจัดอบรมครั้งละ ๓ วัน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๐๐
ข้อเสนอแนะ
- การจัดอบรมเป็นสิ่งที่ดี เพิ่อมพูนความรู้ด้านงานวิจัยควรทำต่อไป
- ขอบังคับการเบิกจ่ายวิจัย มีความยุ่งยากในการเบิกจ่ายเงิน อยากให้ปรับหรือศึกษาวิธีการให้ง่ายต่อผู้ปฏิบัติ
- อยากให้อบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเรียนการสอน การสอบผ่านระบบ online
- ควรมี refreshing course ความรู้ด้านการวิจัย ๒-๓ ปี ต่อครั้ง การใช้นวัตกรรมและIT กับการวิจัย
- หากเป็นไปได้ควรร่วมกับสถาบันการศึกษาอื่นไม่น้อยกว่า ๑๐ สถาบัน จัดการประชุมวิชาการ เพื่อจะได้เป็นคะแนนของการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ นำไปสู่การสร้างเครือข่ายทางวิชาการและเป็นมาตราฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและวิชาการ
- เพิ่มทุนอุดหนุนการทำวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ส่งเสริมเวลาในการทำวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
สรุปประเมินผลความพึงพอใจระบบบริหารงานวิจัย
วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
ประเมินระบบบริหารงานวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ผู้ประเมินเป็นอาจารย์และข้าราชการตำรวจระดับสัญญบัตร จำนวน ๔๕ คน แบ่งเป็นเพศชาย จำนวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๗๘ เพศหญิงจำนวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๘๒ ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๓๓ รองลงมาวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๕๖ ประเภทตำแหน่ง ส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ จำนวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓๓ รองลงมาเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๕๖ฝ่ายอำนวยการ จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๕๖
ประสบการณ์ด้านการทำวิจัย ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำวิจัย ๑-๕ ปี จำนวน ๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗๗๘ รองลงมาไม่เคยมีประสบการณ์ทำวิจัย จำนวน ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๘๙ จำนวนผลผลิตงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ ส่วนใหญ่มีน้อยกว่า ๑ เรื่อง/ปี จำนวน ๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๗๘ คิดเป็นร้อยละ รองลงมาไม่เคยมีผลผลิตงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๑๑ สำหรับประสบการณ์การทำงานในวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ส่วนใหญ่ทำงานน้อยกว่า ๕ ปี จำนวน ๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๗๘ รองลงมาทำงานในวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ๑๕-๑๙ ปี จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๒๒
การบริหารจัดการระบบบริหารงานวิจัย วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ ดำเนินการตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษาโดยแบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ดังนี้
๑.ด้านการพัฒนาศักยภาพการวิจัย
๒.ด้านการสนับสนุนงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์
๓.ด้านการบริหารงานวิจัย
๔.ด้านการสร้างสรรค์งานวิจัย
ความพึงพอใจด้านการพัฒนาศักยภาพการวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่พึงพอใจการจัดการอบรมให้ความรู้ด้านการวิจัย อย่างต่อเนื่องตรงกับความต้องการของอาจารย์และบุคลากร วพ โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๔.๐๒ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๔ รองลงมาพึงพอใจการสนับสนุนให้เข้าร่วมประชุม หรือ อบรมเกี่ยวกับการวิจัยภายนอกหน่วยงาน โดยมีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๓.๙๑ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๑๒
พึงพอใจด้านการสนับสนุนงานวิจัยและ/หรืองานสร้างสรรค์ พบว่า ส่วนใหญ่พึงพอใจการเวียนแจ้งให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับแหล่งทุนอุดหนุนการวิจัยภายในหน่วยงานเป็นประจำทุกปี ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๔.๐๙ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๕ รองลงมาพึงพอใจการเวียนแจ้งให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับแหล่งทุนวิจัยภายนอกหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง เช่น เวียนแจ้ง เวปไซท์ วพ. ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ๓.๙๑ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๙
ความพึงพอใจด้านการบริหารงานวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมีระบบและแนวทางการดำเนินงานวิจัยชัดเจน ค่าเฉลี่ย ๔.๐๔ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๙ รองลงมาพึงพอใจแนวทางปฏิบัติตามคู่มือบริหารระบบงานวิจัย ปี ๒๕๕๕ ชัดเจน เข้าใจง่ายมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ๓.๘๙ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๘
ความพึงพอใจด้านการสร้างสรรค์งานวิจัย จำนวนงานวิจัยของวิทยาลัยพยาบาลตำรวจมีมาตรฐานและเพียงพอตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา ส่วนใหญ่มีความเห็นด้วยระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๑๑ รองลงมามีความเห็นด้วยระดับมาก คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๘๙ สำหรับเหตุผลในการทำงานวิจัย ส่วนใหญ่ตอบเพื่อนำไปใช้ปรับปรุงและพัฒนางาน ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๐๒ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๘๗ รองลงมาเพื่อใช้ประกอบการเลื่อนไหลทางวิชาการ ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๓.๘๒ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๙เหตุผลในการไม่ทำวิจัย พบว่าส่วนใหญ่ตอบมีภาระงานมาก จนทำให้ไม่มีเวลา ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๔.๓๑ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๕รองลงมาตอบไม่มีแรงจูงใจในการทำวิจัย ค่าเฉลี่ยระดับความคิดเห็น ๓.๕๓ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๙
ความต้องการอบรมด้านการวิจัยประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดมีดังนี้
๑.การพัฒนานวัตกรรม/สื่อการสอน
๒.อบรมการออกแบบงานวิจัย
๓.การอบรมเชิงปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน
๔.อบรมเชิงปฏิบัติการิจัยทางคลินิก (ด้านการพยาบาล)
๕.การเลือกใช้สถิติขั้นสูงในงานวิจัย
๖.การจัดการความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย
๗.วิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
๘.ระเบียบวิธีการดำเนินงานวิจัย
ความต้องการช่วงเวลาในการจัดอบรมพบว่า ส่วนใหญ่มีความต้องการให้จัดการอบรมในช่วงปิดภาคการศึกษาต้น คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๔๔ รองลงมาต้องการให้จัดการอบรมในช่วงปิดภาคการศึกษาปลายและช่วงวันที่ไม่ได้ขึ้น Ward แต่ละสัปดาห์ (ช่วงเปิดภาคการศึกษา) คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๒๒
ความต้องการระยะเวลาในการจัดอบรมพบว่า ส่วนใหญ่ต้องการให้มีการจัดอบรมครั้งละ ๒ วัน คิดเป็นร้อยละ ๕๕.๕๖ รองลงมาต้องการให้มีการจัดอบรมครั้งละ ๓ วัน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๑๑
ข้อเสนอแนะ
๑.ควรจัดระเบียบภาระงานของอาจารย์ให้ตรงกับบทบาทหน้าที่เพราะจะทำให้อาจารย์มีเวลาในการพัฒนาด้านวิชาการมากขึ้น
๒.ควรจัดให้มีตำราภาษาต่างประเทศที่ทันสมัย ฐานข้อมูลอิเลคทรอนิค ระบบสัญญาณอินเทอร์เนทที่เร็วเพื่อเพิ่มพื้นที่และความเร็วในการสืบค้นข้อมูล
๓.ควรสนับสนุนให้อาจารย์อบรมศึกษาดูงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานโดยไม่ถือเป็นวันลา และมีการกระจายให้ทั่วทุกภาควิชา เพราะเป็นแรงจูงใจให้เกิดการพัฒนาทางวิชาการ
๔.การจัดอบรมประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ตามความต้องการของอาจารย์และบุคลากรวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ โดยเรียงลำดับ ๓ ลำดับแรก มีดังนี้
๔.๑ การพัฒนานวัตกรรม/สื่อการสอน
๔.๒ อบรมการออกแบบงานวิจัย
๔.๓ การอบรมเชิงปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน
มติคณะกรรมการวิจัย นวัตกรรมและการจัดการความรู้เห็นว่าควรนำโครงการลำดับที่ ๔.๑-๔.๓ มาบูรณาการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อภาคการศึกษาและภาคบริการ ดังนี้
โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนานวัตกรรมและสื่อการสอนทางการพยาบาล
ระยะเวลาจัดอบรม ช่วงเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๙ซึ่งเป็นช่วงการปิดภาคการศึกษาปลาย อาจารย์และบุคลากรวิทยาลัยพยาบาลน่าจะสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้และคณะกรรมการสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๙
สถานที่จัดอบรม วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
๕.การเข้าร่วมอบรมหรือประชุมนอกหน่วยงานของอาจารย์และบุคลากรวิทยาลัยพยาบาลตำรวจไม่ควรซ้ำซ้อนเพราะจะทำให้อาจารย์และบุคลากรไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมในหน่วยงานได้อย่างต่อเนื่อง
๖.ควรการสนับสนุนทุนอุดหนุน เวลาในการทำงานวิจัย วิชาการ ทรัพยากรทั้งเอกสารและเทคโนโลยีที่จำเป็นให้เพียงพอ